มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - ปุจฉา-วิสัชนา
ดังเช่นในสมัยพุทธกาล เหล่าทวยเทพในสวรรค์จะลงจากเทวโลก เพื่อมาฟังธรรมจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านถือว่าการมาฟังธรรมเป็นกรณียกิจที่สำคัญ เทวดาแต่ละองค์ที่ลงจากเทวโลกในยามราตรี ต่างไม่มาเปล่า ไม่ใช่เตรียมมาฟังธรรมอย่างเดียว ท่านจะเตรียมคำถามที่ดีๆไว้อย่างน้อย ท่านละ ๑คำถาม เพื่อนำมาทูลถามพระพุทธองค์
สามเณรนิโครธ (๑)
ผู้ใดเห็นภิกษุผู้ถึงพร้อมด้วยจรณะ ให้ท่านยืนอยู่เบื้องหน้า ประคองอัญชลีนมัสการแล้ว ผู้นั้นจะได้รับการสรรเสริญในปัจจุบัน เมื่อละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมไปสู่สุคติสวรรค์
เส้นทางจอมปราชญ์ (๑)
ขุมทรัพย์คือบุญนั้น สามารถให้สมบัติที่น่าใคร่ทุกอย่างได้ มนุษย์และเทวดาทั้งหลายปรารถนาผลใด ผลทั้งปวงย่อมได้ด้วยบุญนิธินั้น
พระมหากัสสปเถระ (๑)
ชนผู้ปรารถนาอายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สวรรค์ ความเกิดในตระกูลสูง และความเพลินใจ พึงทำความไม่ประมาทให้มากยิ่งขึ้น บัณฑิตทั้งหลายย่อมสรรเสริญความไม่ประมาทในการทำบุญ บัณฑิตผู้ไม่ประมาทแล้ว ย่อมยึดถือประโยชน์ทั้งสองไว้ได้ คือประโยชน์ในปัจจุบัน และประโยชน์ในสัมปรายภพ
The Great Chancellor Episode 1
The true story of the merit-making process of the head of teaching monks in the last Buddha Aeon. What does it concern with the Great Chancellor?
ศาสดาเอกของโลก (๑)
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ผู้บริสุทธิ์หลุดพ้นแล้วจากกิเลสอาสวะ กิจที่จะทำยิ่งกว่านี้ของพระองค์ไม่มีอีกแล้ว พวกเราควรดำเนิน
มหาสมบัติจักรพรรดิ (๑)
ความเป็นพระราชาประเทศราช ความเป็นใหญ่ สุขของพระเจ้าจักรพรรดิที่น่าปรารถนา แม้ความเป็นราชาแห่งเทวดาในทิพยวิมาน อิฐผลทั้งหมดนั้นอันเทวดาและมนุษย์ ย่อมได้ด้วยขุมทรัพย์คือบุญนี้
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๑ ( ปฐมเหตุ )
พระบรมโพธิสัตว์ได้ดำรงตนเป็นแบบอย่างนักสร้างบารมี ตั้งแต่ประสูติจากพระครรภ์ของพระมารดา ก็แบพระหัตถ์ออก และกล่าวกับพระมารดาว่า"เสด็จแม่ มีสิ่งใดให้ลูกได้ทำทานบ้าง" นี่..พระองค์เกิดมาเพื่อการนี้ เพื่อบ่มบารมีให้แก่รอบ ครั้นพระชนมายุได้เพียง ๘ ชันษา ประทับอยู่บนปราสาทตามลำพัง ทรงคิดที่จะบริจาคทานว่า "เราพึงให้หัวใจ ดวงตา เนื้อ เลือด และร่างกายที่มีอยู่ทั้งหมดนี้ หากใครมาขอเรา ให้เราได้ยิน เราก็จะพึงให้ด้วยความยินดี"
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๑ (เทวสันนิบาต)
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นเหตุแห่งสุข ภิกษุผู้ยินดีในความพร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากธรรมอันเกษมจากโยคะ
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๑)
ผู้อดทนย่อมเป็นที่รัก เป็นที่ชอบใจของคนเป็นอันมาก เป็นผู้ไม่มากด้วยเวร เป็นผู้ไม่มากด้วยโทษ เป็นผู้ไม่หลงทำกาละ และเมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์